การมีหนี้ถือเป็นบทเรียนสำคัญของชีวิต การที่คุณหยิบยืมเงินจากผู้อื่นนั่นเท่ากับว่า คุณได้รับโอกาสต่อลมหายใจออกไปแล้ว
ที่สำคัญเมื่อตัวเองได้รับความช่วยเหลือก็จงอย่าสร้างความเดื อด ร้ อนให้คนอื่นและพย ามย ามใช้คืนดังนี้
1. ปรับพ ฤ ติ ก ร ร มสิ้นคิดบางอย่างลง
ถ้าแม้คุณจะมีบัญชีรายรับรายจ่าย หรือคุณจะรู้และเข้าใจความผิ ด พล าดที่เกิ ดขึ้นในอดีต
แต่ถ้าคุณยังไม่ยอมเปลี่ยนพ ฤ ติ กร รมตัวเอง มันก็แทบจะไม่มีประโยชน์อะไรเลย
แล้วคุณก็ไม่อาจหลุ ดพ้ น จากวังวนนั้นแน่นอน จำไว้ว่าการจะเปลี่ยนแปลงตัวเองได้
คุณต้องอาศัยความอดทนและความตั้งใจอย่างมาก
2. บริหารเงินที่เหลือจากการตัดรายจ่ายนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ
จริงๆ แล้วมันไม่ใช่แค่การบริหารเงินที่เหลือจากการจัดการรายจ่ายที่ไม่จำเป็นนั้นอย่างเดียว
คุณควรจะวางแผนการเงินตั้งแต่แรกด้วยซ้ำ เงินที่ได้เพิ่มมานั้น คุณควรจะวางแผนดีๆ
ว่าแต่ละส่วนคุณจะจัดการอย่างไรส่วนไหนเก็บ ส่วนไหนกันไว้ใช้หนี้ คุณต้องแบ่งแต่ละส่วนให้ชัดเจนครับ
3. พูดคุยให้ชัดเจนถึงเหตุผลที่เราต้องหยิ บยืมเงินเพื่อน ยืมเงินญๅติ
การจะขอความช่วยเหลือจากใครสักคน สิ่งแรกคือคุณต้องชัดเจน พูดความจริง คนที่จะช่วยเหลือ
จึงจะทราบสถานการณ์และความจำเป็นของคุณโดยละเอียด และควรกำหนดเวลาใช้คืนให้ชัดเจนว่าคุณพร้อมใช้คืนเมื่อไหร่
และที่สำคัญ เมื่อได้รับความช่วยเหลือมาแล้ว อย่าได้หายหน้าหายตาไปอย่างเด็ ด ข าด
แม้จะยังไม่ถึงกำหนดชำระก็จงติดต่อกับเพื่อนเพื่อแสดงความจริงใจตลอดเวลา
หากคุณยังติดขั ดอะไรอยู่จงบอกเหตุผลกับเพื่อนหรือญ าติเสมอ การหายเข้ากลี บเมฆ
คุณกำลังทำล ายตัวเองและความน่าเชื่ อถือของตัวเองอย่างน่าอดสูที่สุด
4. สำรวจข้อผิ ด พล าดในอดีตของตัวเองว่าเกิ ดอะไรขึ้นกันแน่
ก่อนจะใช้หนี้ได้ คุณต้องเข้าใจเสี ยก่อนว่ามันเกิ ดอะไรขึ้นกับคุณบ้าง คุณจะได้เข้าไปแก้ไข
อย่างตรงจุด ถ้าคุณไม่สำรวจความผิ ด พล าดในอดีต เชื่ อเถอะว่าในไม่ช้าวังวนเดิมๆ จะกลับมาหาคุณอย่างแน่นอน
5. ถ้าบริหารแล้วยังไม่พอก็ต้องหารายได้เพิ่ม
สำนวนที่ยังคงเป็นจริงเสมอคือประโยคที่ว่า “หาให้มากกว่าใช้” ถ้าคุณบริหารทุกอย่างแล้ว
ยังไม่เป็นไปตามเป้า คุณก็ควรจะหารายได้เพิ่มเติมครับ สำรวจว่าคุณมีศั ก ย ภาพอะไร
หรือถนัดอะไรและมันพอจะเอามาเป็นวิธีหารายได้เพิ่มเติมได้หรือไม่แล้วจงลงมือทำเสี ย
เอาเวลาที่มานั่งเครี ยดนั่งกุม ขมั บมาหาเงินเพิ่มดีกว่าครับ
6. ทำบัญชีค่าใช้จ่ายเพื่อเปรียบเทียบสมดุลของรายได้และรายจ่าย
จริง ๆ สิ่งนี้เป็นหัวข้อคล าสสิ คที่สุดสำหรับการสร้างวินัยทางการเงิน เพราะมันจะบอกคุณเลยว่า
ในแต่ละเดือนคุณมีรายได้เข้ามาเท่าไรและคุณเสี ยเงินไปกับเรื่องอะไรบ้าง
คุณจะได้เข้าไปจัดการกับรายจ่ายที่ไม่จำเป็นเหล่านั้น
“แม้ว่าการสร้างความรู้ การปรับทัศนคติ
และพ ฤ ติ กร รมจะไม่ใช่ การแก้หนี้ที่ทำแล้ว
จะเห็นผลทันที แต่ก็ยังเชื่ อว่าสิ่งเหล่านี้จะเป็น
ภูมิคุ้มกันที่ดีให้เราสามารถ สร้างความมั่นคง
ให้ตัวเองและครอบครัวได้..”
ขอบคุณ : e – y h a n g w a