ต้องเข้าใจก่อนว่า ในสมัยก่อนนั้นมีแนวคิดที่ว่า มีลูกเพื่อหวังจะให้พวกเขาเลี้ยงดูในย ามอายุมากขึ้น
ในวัยที่ร่างกายเริ่มโรยราดูแลตัวเองไม่ไหวแล้ว
ซึ่งก็มักจะเป็นแบบนั้นจริงๆ แต่ว่าหากจะมองในความเป็นจริงแล้วมันยังจะใช้ความคิดแบบนี้ได้อยู่ไหม
“มีลูกไว้.. ตอนแก่จะได้มีคนเลี้ยงดู ” ซึ่งมันจะแปลได้อีกทางว่า
หากลูกไม่ยอมเลี้ยงดูคืออกตัญญูอย่างนั้นหรือ แบบนี้เป็นแนวคิดที่เห็นแก่ตัวของพ่อแม่ไปหรือเปล่า?
ถ้าไม่มีลูก จะวางแผนชีวิตตอนแก่ยังไงดี? คำถามนี้คิดว่าหลายๆ คนอาจต้องการคำตอบ ยิ่งยุคสมัยนี้คนไทยหลายๆ
คนนิยมมีลูกกันน้อยลงเรื่อยๆ หลายคนก็ตัดสินใจจะอยู่เป็นโสด หลายคนก็มีความรักแบบไม่ผูกมัด
หลายคนก็แต่งงาน แต่ตัดสินใจไม่มีลูก
ด้วยเหตุผลต่างๆ จึงเกิดตำถามคำถามว่าถ้าไม่มีลูกจะวางแผนชีวิตตอนแก่ยังไงล่ะ แล้วเราจะต้องไปอยู่ที่ไหน
และใครจะคอยดูแลเราสิ่งสำคัญของชีวิต ที่ไร้ทาย าท คือ แผนการเงินที่พร้อมจะรับมือ ทุกสถานการณ์ เมื่อไม่มีลูกที่อาจจะมาสร้างรายได้ทดแทนเราตอนเกษียณ
การวางแผนเรื่องรายได้อย่างสม่ำเสมอ จนถึงวันสุดท้ายของชีวิตจึงสำคัญมาก ๆ
เราควรเริ่มต้นวางแผนว่าจะมีชีวิตเกษียณด้วยเงินก้อน ขนาดเท่าไหร่ และจะหาเงินก้อนนั้นมาได้อย่างไรบ้าง
ความรู้ด้านการเงิน และการล งทุนคือ เรื่องสำคัญ เราควรเรียนรู้และศึกษาเรื่องการวางแผนเกษียณตั้งแต่วันนี้คิดเอาไว้ตั้งแต่ตอนนี้เลยว่า
จะใช้ชีวิตตอนแก่อย่างไรสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้แผนการเงินของเราชัดเจนมาก
สำหรับผู้สูงอายุให้เลือกอยู่อาศัย สภาพแวดล้อมเหมาะสม
สำหรับผู้สูงวัยตรงนี้ถ้าเราวางแผนไว้ก่อนเราก็สามารถเตรียมความพร้อมเรื่องเงินไว้ได้
1. ผูกมิตรใหม่ๆ และอย่าได้เลิกคบเพื่อนเก่า สิ่งนี้ถือเป็นสิ่งสำคัญ เพราะการมีสายสัมพันธ์
ทางสังคมนั้นเป็นเรื่องที่หาค่ามิได้ เพื่อนใหม่ๆ ที่อายุน้อยกว่าคุณจะทำให้คุณ
ตามโลกตามเทรนด์ทันรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง และยังตื่นเต้นกระฉับกระเฉง ไม่ตกยุคตกสมัย ในขณะที่เพื่อนเก่าๆ
เป็นเหมือนบ้านที่แสนสบายทำให้คุณสบายใจเวลาได้อยู่ด้วย
ได้รื้อฟื้นเรื่องราวเก่าๆ ด้วยกันมีการศึกษาพบว่า คนวัย 50 ปีขึ้นไป ที่ไม่มีเพื่อนหรือมีเพื่อนน้อยเนื่องจาก เพื่อนใหม่ก็ไม่คบ
เพื่อนเก่าก็ค่อยๆ ทยอยต า ย ไปทีละนิด จะ เ สี ย ชี วิ ต เร็วกว่าคนที่มีเพื่อนเยอะ
ถึงสองเท่าโดยไม่ขึ้นอยู่กับการดูแล รั ก ษ า สุ ข ภ า พ หรือสถานภาพทางสังคมด้วยนะคะ
เพื่อนจะช่วยให้คุณไม่เป็น โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้ า ในวัยชราซึ่งเป็นโร คที่อั น ต ร า ยมาก พบว่าคนวัย 65 ปีขึ้นไป
จะป่ ว ยเป็นโร คซึมเศร้ามากถึง 20% ซึ่งสูงมากนะครับ แล้วส่วนใหญ่ก็ไม่ค่อยยอมรับ ด้วยว่าตัวเองป่ ว ย
2. เตรียมพร้อมรับมือทุกสิ่ง ที่อาจเกิดขึ้นแล้ววางแผนดีๆ ความสำคัญในการวางแผนอนาคต ให้รอบคอบ
คือ การวางแผนให้ครบรอบด้านทุกแง่มุมที่อาจจะเกิดขึ้นเพื่อเตรียมตัว
รองรับทุกสถานการณ์ แม้ว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะเป็นเรื่องไม่คาดคิด
ยกตัวอย่างเช่น วางแผนว่าถ้าคนในครอบครัว เ สี ย ชี วิ ต
หมด เราจะทำอย่างไร วางแผนถ้าคู่ชีวิตเ สี ย ชี วิ ต ก่อนเราจะทำอย่างไร วางแผนถ้าลูก
เ สี ย ชี วิ ต ก่อน เราจะทำอย่างไรวางแผนว่าถ้าเรา พิ ก า ร หรือทุพพลภาพ เราจะทำอย่างไร
ถึงแม้จะดูเ ค รี ย ด ไปบ้าง แต่สิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันความ เ สี่ ย ง ไว้ล่วงหน้าได้โดยเฉพาะ
เรื่องประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ประกั น โร ค ร้ ายแ ร งต่างๆ ที่ช่วยลดความเสี่ ย งได้
3. เตรียมที่อยู่ให้พร้อม ตอนอายุยังไม่มาก คุณจะอยู่ที่ไหนก็ได้ แต่พออายุมากขึ้น คุณอาจต้องหาที่ทางอยู่ในย่าน ที่เดินได้ มี
Walkabilityอยู่ใกล้สถาน พ ย า บ า ล หรืออยู่ใกล้ชุมชนที่สามารถหาซื้อข้าวของและบริการต่างๆ ได้โดยสะดวก
ซึ่งก็ต้องเตรียมแต่ เนิ่นๆ เช่น คุณอาจทำงานอยู่กรุงเทพฯ
แต่คิดแล้วว่าตอนแก่จะไปอยู่เชียงใหม่ ก็อาจเริ่มผ่ อ นบ้านหรือคอนโดฯ ที่เชียงใหม่ ไว้ก่อนเลยก็ได้
4. การมีแผนการเงิน ของตนเอง คือสิ่งสำคัญที่สุด ไม่ว่าเราจะอยู่ในครอบครัว แบบไหน มีลูก มีสามี มีภรรย า มีพ่อ มีแม่ มีชีวิตแบบ
ใดก็ตาม เราจำเป็นต้องมีแผนการเงินเสมอ เพราะสุดท้ายแล้วคนที่จะอยู่กับเราไปตลอดชีวิตอย่างแน่นอน
ก็มีแค่ตัวเราของเราแค่คนเดียว คิดไว้ตั้งแต่วันนี้ว่า จะมีชีวิตเกษียณแบบไหน จากวันนี้จนวันสุดท้ายจะมีชีวิตอย่างไร
5. สำคัญที่สุด คือการ รั ก ษ า สุ ข ภ า พ เรื่องนี้ แทบไม่ต้องบอกกัน ดูแลเรื่องการกินและการออกกำลังกายให้ดี
และ รั ก ษ า ส ม อ ง ให้แจ่มใสเอาไว้ด้วยอย่าลืมวางแผนการเดินทางท่องโลกเอาไว้ตั้งแต่ตอนนี้ด้วยนะคะ
เพราะถ้าอายุมากขึ้นคุณอาจเดินทางไม่ไหวแล้ว หรือไม่ก็ไม่สนุกเท่าวัยนี้
แต่ก็ดูให้พอดี กับงบประมาณและการออมของตัวเองด้วยการ สู บ บุ ห รี่ หรือ ดื่ ม เ ห ล้ า มากเกินไปไม่เป็นผลดีต่อร่ างก าย
ถ้าทำได้ก็งดเว้นไปเสี ยเถอะเอาเงินและเวลามาเตรียมตัวอยู่ อย่างไ ร้คู่ไ ร้ลูกแต่ไม่ไ ร้สุขกันดีกว่า
ขอบคุณ : k u m k o o m