Home ข้อคิด รู้จักวิธีการวางแผนการเงิน เมื่อเป็นหนี้ก็ต้องใช้ และให้ตัวเองยังมีเงินเหลือเก็บได้

รู้จักวิธีการวางแผนการเงิน เมื่อเป็นหนี้ก็ต้องใช้ และให้ตัวเองยังมีเงินเหลือเก็บได้

8 second read
ปิดความเห็น บน รู้จักวิธีการวางแผนการเงิน เมื่อเป็นหนี้ก็ต้องใช้ และให้ตัวเองยังมีเงินเหลือเก็บได้
0

“ทุกวันนี้คนที่มีหนี้ ตื่นเช้าลืมตาขึ้นมาก็เพื่อออกทำงาน หาเงิน เลี้ยงปาก เลี้ยงท้อง ยังไม่พอ ต้องใช้หนี้ที่ ตามหล อก หล อนในหัวสมองทุกวี่วัน

อย่ าได้ถามถึงเรื่องเงินเก็บ เพราะทุกวันนี้หาเงินได้เท่าไหร่ก็ต้องเอาไปจ่ายหนี้หมด

แต่จะมีกี่คนที่รู้ว่า ถึงเรามีหนี้ เราก็ควรต้องแบ่งเงินเก็บไว้ด้วย เพราะผมพบตัวอย่ างคนใกล้ตัวที่มีหนี้ แต่ไม่มีเงินออมในบ้านเลย ลองอ่านดูนะครับ…

วันหนึ่งลูกชายเพื่อนผมดันขิ่มอเตอร์ไ ซด์ไปช น ท้ ายรถหรูคันหนึ่ง โชคดีที่เจ้าของรถยนต์ เขาเห็นบ าดเจ็ บหนั ก ก็เลยไม่คิดจะเอาเรื่อง

แต่ก็ต้องเสี ยค่ารักษาพย าบ าลกับค่าซ่อมรถมอเตอร์ไซต์หมดเป็นหมื่น

เพื่อนเล่าไปก็ร้ องไ ห้ไป เพราะมันทุ กข์ใจว่าหนี้เก่ายังใช้เขาไม่หมด ต้องกู้เงินเพิ่มมารักษาลูกอีก ทุกวันนี้อย่ าได้คิดถึงเงินออมเลย

หาเงิน แ ท บ ต ๅ ย ได้เท่าไหร่เอาไปจ่ายหนี้หมด ชีวิตนี้เป็นหนี้ไม่จบไม่สิ้นสักที

และนั่นเป็นจุดเริ่มต้นทำให้ผมต้องเริ่มคิดใหม่!!

ผมเริ่มคิดว่าตัวเองมองอะไรพล าดไปรึเปล่า นอกจากความรับผิ ดชอบในการใช้หนี้

และสิ่งที่ผมพล าดคือ ลืมคิดถึงแผนสำรองเผื่อช่วงที่เกิ ดเ ห ตุก ารณ์ไม่ค าดฝัน เช่น การเกิ ดอุบั ติเ ห ตุ มันทำให้ผมรู้ว่าคนที่มีหนี้

อย่ างน้อยก็ต้องมีเงินออมที่เรียกว่า “เงินฉุ กเฉิ น” เก็บไว้ด้วย เพราะเงินก้ อนนี้สำคัญกับชีวิตมากจริงๆ

มาถึงตรงนี้หลายคนคงคิดว่า “มันเป็นไปไม่ได้หรอกนะ! ไม่เคยมีหนี้ล่ะ สิถึงพูดกันแบบนี้”

งั้นเรามาดูวิธีแบ่งเงินใช้หนี้และมีเงินเก็บแบบง่ายๆ กันดีกว่า

ตรงนี้ผมขอบอกเลยว่าเริ่มง่ายมากกกก เริ่มจากเขียนบัญชีรายรับรายจ่ายเลยครับ!

ถ้าเงินมันมาทางไหนหายไปไหนจะได้มาดูย้อนหลังจากบัญชีนี้ได้

เมื่อถึงวันที่เงินเดือนเข้าบัญชีหรือขายของมีรายได้เข้ามา ก็แบ่งเงินเป็น 2 กอง คือ กองที่เก็บและกองที่ใช้

กองที่เก็บ คือ เงินสดสำรองฉุ กเฉิ น (จำนวนรายจ่าย ให้อยู่ได้อย่ างน้อย 1-3 เดือน)

กองที่ใช้ คือ ใช้จ่ายหนี้สินและใช้จ่ายส่วนตัว

ทำบัญชี รายรับ – รายจ่าย

เทคนิคของผมง่ายนิดเดียวครับ แค่แบ่งเก็บก่อนใช้เสมอ ค่อยๆ สะสมทีละนิดจนกระทั่งครบตามจำนวนที่ตั้งไว้

เช่น ถ้าเรามีรายจ่ายเดือนละ 10,000 บาท ดังนั้นเงินฉุ กเฉิ นต้องเตรียมไว้ คืออย่ างน้อย 10,000-30,000 บาท

โดยเริ่มต้นแบ่งเงินรายได้มาเก็บทุกเดือน ๆ ละ 500 – 1,000 บาท จำนวนที่เก็บขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคน

แต่ผมอย ากบอกว่าจำนวนเงินที่เก็บยังไม่สำคัญเท่าวินัยที่จะเก็บให้ได้ทุกเดือน

เพราะหากมีวินัย เงินเก็บก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนครบในที่สุดครับ

หลังจากแบ่งเงินเพื่อเก็บแล้ว ก็แบ่งเงินอีกส่วนมาชำระหนี้ที่มีอย่ างสม่ำเสมอทุกงวด จะได้มีประวัติเป็นลูกหนี้ที่ดี

สุดท้ายเหลือเงินเท่าไหร่ก็ค่อยเอาใช้ส่วนตัวนะครับ

เหตุผลที่เราควรมี เงินสำรองฉุ กเฉิ น

ทำไมชีวิตคนเราควรมีเงินออม หรือที่ผมเรียกว่าเงินสำรองฉุ กเฉิ น? หากเราเกิ ด เ ห ตุไม่ค าดคิดบ าดเจ็ บทำงานไม่ได้ 1 เดือน

ถ้าเรามีเงินฉุ กเฉิ นไว้ 1 เดือน เราก็ยังมีเงินมาพอใช้จ่ายในชีวิตประจำวันได้

แต่หากเราเก็บไว้มากกว่านี้ก็ช่วยให้เราสบายใจได้มากขึ้น

เรื่องแบบนี้มันขึ้นอยู่กับความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเงินฉุ กเฉิ นก้อนนี้จะทำให้เรารอดพ้ น วิ ก ฤ ต ของชีวิต และทำให้เราไม่เป็นหนี้ก้อนโตเพิ่มนั่นเองครับ

ขอบคุณ : n g e r n t i d l o r

Load More Related Articles
Load More By Admin
Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คนไม่มีลูก เเก่..มา เเล้วใครจะเลี้ยงดูคุณ ใครที่คิดแบบนี้ลองอ่านแล้วจะเข้าใจ (สอนใจได้ดี)

แนวคิดที่ว่า… มีลูกเพื่อหวังจะให้มาเลี้ยงดูในย ามแก่นั้ … …