“จะเรียนไปทำไม ถ้าสุดท้ายก็ได้งานที่ไม่ตรงสาย งานที่น้อยคนจะรู้จัก เงินเดือนที่ไม่ได้มากมายอะไร”
คำถามนี้จะได้คำตอบที่ทำให้กลุ้มใจมากเลย
เพราะมันเต็มไปด้วยความคาดหวังที่คิดว่า “เรามีทางเลือกอยู่ไม่กี่อย่างในชีวิต”
แต่ถ้าลองเปลี่ยนเป็นความคิด “ฉันทำงานอะไรก็ได้ ไม่ว่าจะตรงสาย หรือไม่ก็ตาม”
มันอาจดูเป็นประโยคของคนแ พ้ ในสายตาบางคน แต่ถ้าคิดดูแล้ว
มันได้ความสบายใจเยอะกว่าการตั้งคำถามแบบแรก เพราะความเป็นจริงของชีวิตคือ
1. มนุ ษย์ทุกคนมีความสามารถในตัวเอง “แต กต่าง” กันไป เราไม่จำเป็นต้องเก่งเหมือนกันหมด
2. แม้แต่ในคนคนเดียว ยังมีความสามารถที่หลากหลาย เช่น เป็นห ม อ
แต่ก็เล่นดนตรีเก่ง ทำอ าห า รเก่ง เป็นศิลปิน แต่ก็คำนวณเก่ ง
ขับรถเก่ง ในครั้งหนึ่งที่เราไม่เห็นประโย ชน์ ว่าจะใช้อะไรได้จริง
พอโตขึ้นอีกหน่อย มันก็ต้องมีบ้างที่เรานึกอะไรขึ้นมา จนต้องไปหาอ่ านปัดฝุ่นตำร าอีกครั้ง
ทุกความรู้ที่เราได้รับ ไม่เคยสู ญเปล่า
แค่เรามองไม่เห็นค่ามันเอง ลองนึกดูให้ดีสิ
3. สิ่งที่เราเรียนมาเป็นสิบเป็นร้อย มันคือ “การหล่ อห ล อ ม” หลายวิชาไม่ได้สอนเราทางตรง
แต่ให้เราค่อยๆ ซึ มซั บข้อดีแต่ละอย่ างไปเอง
เช่น ฝึกความอดทน ฝึกความประณีต ฝึกทักษะการเข้าสังคม
4. สิ่งที่เรา “เก่ง” ไม่จำเป็นต้องออกมาในรูปแบบวิช าชี พ เช่น หมอ วิ ศ ว ก ร พย าบ าล
มันอ าจเป็นพรสวร รค์ก็ได้ เป็นความรู้อะไรก็ได้
ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น การทำอ าหาร การจัดสวน การออกแบบ
ไม่อย่ างงั้น เราคงไม่เห็นนักธุรกิจหน้าใหม่หลายคน ผุดขึ้นเป็นดอกเห็ดหรอก
5. มันเป็นเรื่องธร รมดาที่มนุ ษย์เรา จะต้องวิ่งตามหาสิ่งที่ “ใช่” ค่อย ๆ เรียนรู้ ค่อย ๆ ปรับตัวไป
สิ่งที่เรากำลังสนุกในตอนนี้ บางทีอาจจะยังไม่ใช่ที่สุด สิ่งที่เราเก่งในตอนนี้ ในวันข้างหน้ามันอาจเป็นเพียงแค่ความทรงจำ
เพราะอาจมีหลายปัจจัยให้คิดมากขึ้น
เช่น จำเป็นต้องพับโครงการเรียนต่อเอาไว้ เพราะเงินไม่พอ
จำเป็นต้องทำงานหาเงินก่อน แล้วค่อยไปเรียนศิลปะที่เราชอบ
เราต้องดูจังหวะของชีวิตด้วย (ความจำเป็นของชีวิตแต่ละช่วง)
6. มนุษย์เราควรมีทางเลือกให้กับชีวิตไว้หลายด้าน หรือ “มีแผนสำรอง”
เพื่อไม่เป็นการปิ ดกั้ นตัวเองจนเกินไป
เช่น ถ้าวุฒิที่เราเรียนมามันหางานย าก จะยอมรึเปล่าที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้หางานไปก่อน
ถ้าเราไม่ได้อาชีพนี้ เรายอมได้รึเปล่าที่จะทำอาชี พอื่นไปพลางๆ
ก่อน ความฝัน สิ่งที่ใช่ มันไม่ควรเป็นสิ่งที่ได้ดั่งใจในทันที
7. ในรั้วโรงเรียน ต่อให้เราได้เรียนกับอ าจารย์ที่เก่งแค่ไหน ขอบเขตความรู้มันก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้น
โล กของวัยผู้ใหญ่ที่โตขึ้น เรายังต้องรู้เห็นอีกมาก เรียนรู้กันอีกย าว ลองผิดลองถูกกันอีกเยอะ
ดังนั้น จะมาฟั นธงว่าเรียนมาส าย วิ ท ย์ ต้องทำงานส ายวิทย์
เรียนส ายภาษาต้องทำงานส ายภาษา มันก็ไม่ถูกเสมอไป
มันเป็นเรื่องธร รมดามาก ที่ต้องแ ล กกับความเหนื่อย ความพย าย ามหลายเท่าตัว
จึงไม่ใช่เรื่องแ ป ล ก หากจะพบว่า หมอบางคนแต่งเพลงได้ บางคนเรียนวิชาชีพแต่มาเป็นศิลปิน
บางคนเรียนไม่จบแต่ประสบความสำเร็จ
ถ้ายังไม่เข้าใจในข้อนี้ ลองย้อนกลับไปอ่ านข้อ 6 อีกรอบขึ้นชื่อว่า “ความรู้” เราได้รับมา
ถึงจะไม่ได้ใช้ในทันที ก็ไม่ควรเสี ยด าย ขึ้นชื่อว่า “ความฝัน” ถึงจะยังไม่ใช่ในวันนี้ ใช่ว่าวันหน้าจะเป็นไปไม่ได้
มันอยู่ที่ตัวเราล้วนๆ ว่า “รู้ตัวดีหรือไม่ ว่าทำอะไรอยู่” และ “พร้อมจะยืดหยุ่นกับทุกสถ านการณ์ชีวิตรึเปล่า”
อย่ าลืมว่าโล กเรากลม และมีหลายมิติ ใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้ านเดียว
ความรู้ต่าง ๆ อยู่รอบตัวเราเสมอ และการเรียนรู้ก็เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิต คนทำงานทุกคนคงไม่มีใครอย ากย่ำอยู่กับที่
ไม่พัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม “จงทำตัวเป็นน้ำครึ่งแก้ว”
จึงเป็นคติประจำใจที่ใช้ได้ดีเสมอ เพราะเราสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อนำมาปรับใช้ในทุกวันของการทำงาน