ความจน เป็นคำตรงข้ามกับความร่ำรวย วิถีชีวิตและวิธีคิด ก็แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน ความจนทำให้ต้องดิ้นรน เ ค รี ย ด กับภาระหนี้สิน
ต้องทนกับ คุณภาพชีวิตที่ต่ำกว่ามาตรฐาน เชื่อว่าไม่มีใครชอบความจน ดังนั้นเรามาดูหลักการ ใช้ชีวิตเพื่อหลีกหนีความจนกันดีกว่า
1. อะไรประหยัดได้ก็ควรประหยัด
ในภาวะเศรษฐกิจ เช่นนี้ หากเราไม่ปรับตัว ยังใช้ชีวิตหรูหรา เกินฐานะความจนจะมาเยือนอย่างแน่นอน ฉะนั้นอะไรประหยัดได้ ก็ต้องประหยัด
เพราะจะช่วยให้คุณมีเงิ นเหลือมากขึ้น ถึงแม้จะไม่ใช่เงิ นก้อนโต แต่อย่างน้อย มันก็ช่วยปลูกฝัง นิสั ยของคนรวยให้เรา
2. มีความขยันขันแข็ง
ปัจจุบันงานก็หาย าก แถมยังมีข่ าวการปลดพนักงานออกอยู่ตลอดทำให้หลายคนรู้สึกหวั่นใจอยู่ไม่น้อย ยุคนี้เราจะมั วเชื่องช้าไม่ได้แล้ว
ต้องมีความขยันขันแข็ง และตื่นตัวอยู่ตลอด เพราะเรามีปากท้องเป็น เ ดิ ม พั น คงจะไม่มีหน่วยงานไหนที่ อย าก ได้คนขิ้เกี ยจ
เรียกใช้ย าก ผลงานน้อยเข้าทำงานแน่ หากคุณโดนให้ออกจากงานนั่นแหละ จึงจะรู้ว่า การตกงาน ไม่ใช่เรื่องตลก
3. มองหาการลงทุน
ข้อนี้สำคัญมากเลย ที่จะทำให้คุณเลื่อนฐานะ การเงิ นขึ้นมาได้ คนรวยมักชอบ มองหาการลงทุน คุณก็ต้องมองหาการลงทุนด้วยเช่นกัน
ซึ่งการลงทุนมีมากมาย หลายประเภท ที่จะทำให้เงิ นของคุณงอกเงยขึ้น แต่ก่อนอื่น คุณจะต้องหา ความรู้เรื่องการลงทุน
ในกิจการนั้นๆ ก่อน เพื่อลดความเสี่ ยง เรียกว่าลงทุนอย่างชาญฉลาด
4. บันทึกบัญชีการเงิน
เรื่องการบันทึกบัญชี มีผลต่อชีวิตจริงๆ การบันทึกบัญชีการเงิ น เป็นการแกะ รอยการเงิ นทุกฝีก้าวว่า เงิ นไปไหน ได้มาเท่าไร
หลักการบันทึกบัญชี คือให้คุณบันทึกเงิ น เข้าออกทุกบาท ไม่ให้ตกหล่น แล้วขีดเส้นส รุปรายวัน และทำรายเดือนอีกครั้ง
เพียงเท่านี้ คุณจะเห็นร่องรอยการเ งินของคุณ จะได้มีสติมากขึ้น การบันทึกบัญชีรายรับ-จ่าย จะช่วยให้คุณวางแผน การเงิ นได้ดียิ่งขึ้น
5. สร้างนิสั ยรักการออม
เมื่อคุณมีวินัยในการออม เงิ นผลที่ได้ ย่อมนำความชื่นใจ มาให้ เพราะคุณจะเห็นยอดเงิ นออมเพิ่มขึ้นทุกเดือน
และนับว่าเป็นนิสัยของเศรษฐีที่มักจะคิดเรื่องเก็บเงิ นก่อนเสมอ อย่างน้อยก็อุ่นใจ ที่มีเงิ นก้อนหนึ่งที่โตขึ้นเรื่อยๆ
ต่างจากคนที่ไม่คิด จะออมเ งินเลย มีเท่าไรใช้หมด แถมใช้เงิ นเกิน จากที่ได้รับด้วย แบบนี้จน เ รื้ อ รั ง แน่
คุณควรเริ่มคิด เรื่องการออมเงิ น ตั้งแต่ตอนนี้ และลงมือทำ จากจำนวนเ งินน้อยๆ ก่อนแล้วค่อยๆ เพิ่มจนถึงจุดที่คุณพอใจในแต่ละเดือน
6. ยึดหลักความพอดี
ไม่ว่าจะกินจะใช้ หากไม่อย ากจน การเงิ นติดลบ ก็ต้องนำหลัก ความพอดีมาใช้คุณควรบริหารเงินเป็น สัดส่วน
กินและใช้อย่างเหมาะสม ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป บางคนชอบกินของแพง ถ้านานๆ ที คงไม่เป็นไร
แต่หากเน้นกินของแพงทุกวัน คงต้องมานั่ง เ ค รี ย ด ตอนเ งินไม่พอใช้เป็นแน่
7. หมั่นหาความรู้เสมอ
ความรู้มีหลายประเภท เช่น ความรู้ในอาชีพต่างๆ ความรู้ในเรื่องการลงทุน ความรู้ในเรื่องการเ งินเป็นต้นและปัจจุบันความรู้ต่างๆ
เหล่านี้ ก็แฝงตัวอยู่ทุกที่ ให้เราไปเก็บ บางแห่งไม่ต้องเสี ยเ งินแต่อย่างใด
เช่น ในอินเตอร์เน็ต ตามเว็บไซต์ต่างๆ มีความรู้ มากมาย รอให้เราไปค้นคว้าและไปเก็บมาแบบให้เปล่า
อยู่ที่ว่า เราจะเห็นคุณค่า ของความรู้นั้น แล้วนำมาต่อยอดพัฒนาชีวิต ของตนให้พ้นจากความย ากจนหรือไม่
ขอขอบคุณ : m o n e y h u b